ข้อควรระวังใน การออกกำลังกาย ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุควรหยุด การออกกำลังกาย เมื่อมีอาการอย่งหนึ่งอย่างใด ดังนี้คือ รู้สึกเหนื่อยมาก หายใจไม่ทัน เหงื่อออกมาก ตัวเย็น เจ็บที่บริเวณหัวใจหรือร้าวไปที่ไหล่ซ้าย เวียนศีรษะ ควบคุมลำตัวแขน ขา ไม่ได้ มีอาการอ่อนแรงหรืออัมพาตบริเวณแขน ขา หรืออวัยวะอื่น ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ผู้สูงอายุควรหยุด การออกกำลังกาย เมื่อมีอาการอย่งหนึ่งอย่างใด ดังนี้คือ รู้สึกเหนื่อยมาก หายใจไม่ทัน เหงื่อออกมาก ตัวเย็น เจ็บที่บริเวณหัวใจหรือร้าวไปที่ไหล่ซ้าย เวียนศีรษะ ควบคุมลำตัวแขน ขา ไม่ได้ มีอาการอ่อนแรงหรืออัมพาตบริเวณแขน ขา หรืออวัยวะอื่น ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
การออกกำลังกายเป็นสิ่งที่มีประโยชน์
ในบุคคลทั่วไปทุกเพศทุกวัย ไม่เว้นแม้แต่วัยสูงอายุ
แต่เนื่องจากวัยสูงอายุเป็นวัยที่อวัยวะของร่างกายมีความเสื่อม
และมีการเปลี่ยนแปลวทางสรีระวิทยาหลายอย่าง
ดังนั้นในการที่ผู้สูงอายุจะออกกำลังกายจะต้องมีข้อควรพิจารณา เช่น
โรคประจำตัว ภาวะสุขภาพ เป็นต้น เพราะอาจเกิดปัญหาหรือภาวะแทรกซ้อนตามมาได้
ซึ่งผู้สูงอายุจะต้องประเมินตนเองและสภาพแวดล้อมก่อนออกกำลังกายและขณะออกกำลังกายว่ามีภาวะเสี่ยงที่จะทำให้เกิดอันตรายเนื่องมาจากการออกกำลังกายหรือ
ไม่โดย ภาวะที่ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงหรืองดเว้นการออกกำลังกาย ได้แก่
1. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ที่ยังควบคุมอาการไม่ได้
2. ความดันโลหิตขณะพักสูงกว่า 200/ 100 มม.ปรอท ทั้งนี้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงควรรับประทานยาอย่างต่อเนื่องหรือควรวัดความดันโลหิตก่อนการออกกำลังกาย
3. ลิ้นหัวใจตีบ ขนาดปานกลางถึงรุนแรง
4. จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
5. หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ (> 100 ครั้ง/นาที) และยังควบคุมไม่ได้
6. มีภาวะหัวใจวาย หรือมีการติดเชื้อหรือการอักเสบของเยื่อบุ หรือกล้ามเนื้อหัวใจ. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด (vascular thrombosis)ระยะแรก
7. หลอดเลือดดำอักเสบ
8. เป็นไข้ ปวดข้อ หรือมีอาการเจ็บป่วยเฉียบพลัน
9. ตรวจพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
10. มีอาการเวียนศรีษะ
11. ได้รับยาบางชนิด ทั้งนี้ควรสอบถามแพทย์ว่าเมื่อรับประทานยาดังกล่าวสามารถออกกำลังกายได้หรือไม่
12. สภาวะแวดล้อม และภูมิอากาศไม่เหมาะสม เช่น อากาศร้อน หรือเย็นเกินไป หรือการระบายอากาศของสถานที่ที่ออกกำลังกายไม่ดี เช่น เป็นห้องอับไม่มีหน้าต่าง
13. หลังรับประทานอาหารมื้อหลักไม่เกิน 2 ชั่วโมง
1. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ที่ยังควบคุมอาการไม่ได้
2. ความดันโลหิตขณะพักสูงกว่า 200/ 100 มม.ปรอท ทั้งนี้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงควรรับประทานยาอย่างต่อเนื่องหรือควรวัดความดันโลหิตก่อนการออกกำลังกาย
3. ลิ้นหัวใจตีบ ขนาดปานกลางถึงรุนแรง
4. จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
5. หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ (> 100 ครั้ง/นาที) และยังควบคุมไม่ได้
6. มีภาวะหัวใจวาย หรือมีการติดเชื้อหรือการอักเสบของเยื่อบุ หรือกล้ามเนื้อหัวใจ. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด (vascular thrombosis)ระยะแรก
7. หลอดเลือดดำอักเสบ
8. เป็นไข้ ปวดข้อ หรือมีอาการเจ็บป่วยเฉียบพลัน
9. ตรวจพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
10. มีอาการเวียนศรีษะ
11. ได้รับยาบางชนิด ทั้งนี้ควรสอบถามแพทย์ว่าเมื่อรับประทานยาดังกล่าวสามารถออกกำลังกายได้หรือไม่
12. สภาวะแวดล้อม และภูมิอากาศไม่เหมาะสม เช่น อากาศร้อน หรือเย็นเกินไป หรือการระบายอากาศของสถานที่ที่ออกกำลังกายไม่ดี เช่น เป็นห้องอับไม่มีหน้าต่าง
13. หลังรับประทานอาหารมื้อหลักไม่เกิน 2 ชั่วโมง
นอกจากนี้หากผู้สูงอายุออกกำลังกายและพบว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้น
ผู้สูงอายุควรหยุดออกกำลังกายทันที และนั่งหรือนอนพัก และหายใจเข้าออกลึกๆ
หากอาการไม่ดีขึ้นให้รีบไปพบแพทย์ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นขณะออกกำลังกายที่ผู้สูงอายุควรหยุดพักการออกกำลังกายทันที ได้แก่
1. อาการเจ็บแน่นหน้าอก
2. มึนงง เวียนศรีษะ หรือเดินเซ
3. ไอมากผิดปกติ
4. คลื่นไส้ อาเจียน
5. ใจสั่น เหนื่อย
6. ปวดน่อง เป็นตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนล้า
7. หน้าซีด หรือแดงคล้ำ
8. หายใจลำบากหรือหายใจเร็วเกิน 10 นาที หลังหยุดพัก
9. ชีพจรเต้นช้าลง
10. ปวดข้อ
11. หายใจไม่ทัน หายใจไม่ออก หายใจไม่อิ่ม
2. มึนงง เวียนศรีษะ หรือเดินเซ
3. ไอมากผิดปกติ
4. คลื่นไส้ อาเจียน
5. ใจสั่น เหนื่อย
6. ปวดน่อง เป็นตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนล้า
7. หน้าซีด หรือแดงคล้ำ
8. หายใจลำบากหรือหายใจเร็วเกิน 10 นาที หลังหยุดพัก
9. ชีพจรเต้นช้าลง
10. ปวดข้อ
11. หายใจไม่ทัน หายใจไม่ออก หายใจไม่อิ่ม
ความเสื่อมมักมาคู่กับวัยที่สูงขึ้น
โดยเฉพาะเรื่องข้อเสื่อม ซึ่งข้อส่วนใหญ่ที่ชอบเสื่อม คือ
ข้อที่ต้องรับน้ำหนัก ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก และข้อของกระดูกสันหลัง
ภาวะข้อเสื่อม โดยทั่วไปก็จะเริ่มจากการที่ร่างกายจะเตือนเรา
โดยการเริ่มรู้สึกฝืดๆ อยู่นานๆ จะลุก จะขยับลำบาก นั่งนานๆ
จะลุกต้องใช้เวลาการใช้ข้อที่มากไปหรือใช้ไม่เหมาะสมหรือใช้ในลักษณะที่ผิดรูปแบบของข้อนั้นก็จะทำให้เกิดข้อเสื่อมได้
การใช้น้อยไป หรือไม่ค่อยใช้ ก็มีผลเสีย คือ จะทำให้กล้ามเนื้อรอบข้อไม่สามารถทำหน้าที่นั้นได้ นอกจากนี้อาจจะทำให้สารน้ำที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ในข้อ เช่น หมอนรองข้อ กระดูกอ่อน ไม่สามารถไปเลี้ยงได้ดี
เราสามารถดูแลข้อและชะลอความเสื่อมของข้อได้ ซึ่งการเคลื่อนไหว ออกแรง ออกกำลัง อย่างเหมาะสม ทุกอย่างล้วนมีประโยชน์ต่อสุขภาพ วันนี้เรามีท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัยมาฝากกัน
การใช้น้อยไป หรือไม่ค่อยใช้ ก็มีผลเสีย คือ จะทำให้กล้ามเนื้อรอบข้อไม่สามารถทำหน้าที่นั้นได้ นอกจากนี้อาจจะทำให้สารน้ำที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ในข้อ เช่น หมอนรองข้อ กระดูกอ่อน ไม่สามารถไปเลี้ยงได้ดี
เราสามารถดูแลข้อและชะลอความเสื่อมของข้อได้ ซึ่งการเคลื่อนไหว ออกแรง ออกกำลัง อย่างเหมาะสม ทุกอย่างล้วนมีประโยชน์ต่อสุขภาพ วันนี้เรามีท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัยมาฝากกัน
ที่มา sites.google.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น